Ad

Tuesday, May 3, 2016

Kohlberg อธิบายว่าแต่ละคนจะมีการพัฒนาการรับรู้ทางศีลธรรมเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้




3 ขั้นของความคาดหวังระหว่างกัน บุคคลในขั้นที่ 3 นี้จะเน้นที่อยู่เรื่องคนอื่นมากกว่าที่ตนเองแล้วแรงจูงใจจะมาจากกฎระเบียบแต่บุคคลก็ยังพิจารณาเรื่องคนอื่นด้วยผู้จัดการฝ่ายผลิตที่อยู่ในขั้นนี้จะเชื่อฟังคำสั่งของผู้บริหารระดับสูงขึ้นไป ในการเพิ่มกำลังการผลิต ถ้าเชื่อว่าการกระทำเช่นนั้น จะเพิ่มกำไรให้บริษัทและการรักษางานของบรรดาพนักงานไว้ได้ผู้จัดการผู้นี้ไม่เพียงแต่พิจารณาในเรื่องของตนเองในการยอมทำตามคำสั่งนั้น แต่จะพยายามนึกถึงตัวเองในฐานะของผู้บังคับบัญชาระดับสูงและอย่างลึกซึ้งพนักงานด้วย ดังนั้นในขั้นที่ 3 จึงแตกต่างจากคันที่ 2 ในเรื่องของแรงจูงใจของบุคคลในการพิจารณาถึงความยุติธรรมของคนอื่นๆ

ระดับการพัฒนาการรับรู้
1 ระดับขั้นการลงทุนและการเชื่อฟัง
2 ขั้นของการแลกเปลี่ยนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
3 ขั้นของการคาดหวังระหว่างกัน
4 ขั้นของการรักษาระบบสังคม
5 ขั้นของการสัญญาทางสังคม
6 ขั้นของหลักการทางจริยธรรมที่เป็นสากล





ข้อที่ 6 ขั้นของหลักการจริยธรรมที่เป็นสากล
คนในขั้นนี้เชื่อว่า
1 ชื่อว่าความถูกต้องตัดสินโดยกฎจริยธรรมที่เป็นสากลที่ทุกคนควรปฏิบัติตาม
2 เชื่อว่าสิ่งที่เบี่ยงเบนไปจากความถูกต้องจะมีผลเสียต่อธรรมชาติอย่างกว้างขวาง
3 ปฏิบัติตัวตามสิทธิ์กฎหมายและข้อตกลงทางสังคมต่างๆไม่มองข้ามว่าเป็นเพียงแค่ประเพณี
4 เองจริยธรรมทางสังคมมากกว่าจริยธรรมขององค์การธุรกิจ




แนวข้อสอบ MGT2201 คร่าวๆ

1.กรอบแนวคิดการตัดสินใจทางจริยธรรม
2.ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคมเกี่ยวข้องกันอย่าง
ไร
3.จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึงไร
4.ปรัชญาทางศิลธรรม
5.องค์ประกอบความรับผิดชอบต่อสังคม
6.วัฒนธรรมองค์กร(พี่จำได้เท่านี้น่ะ)ออกแน่ๆคือกรอบแนวคิดที่มีรูปน่ะ

ประเด็นด้านศีลธรรมมีเรื่องอะไรบ้างที่เป็นประเด็นระดับโลก
(จริยธรรมระดับโลก)

วัฒนธรรมองค์การ

 ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรมในองค์การ

วัฒนธรรมองค์การ เป็นวิถีชีวิตที่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ซึ่งจะกลายเป็นนิสัยและความเคยชิน และกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีประพฤติปฏิบัติ ความเชื่อ ค่านิยม รวมทั้งภาษาวัตถุสิ่งของต่าง ๆ วัฒนธรรมทำให้คนรวมตัวกันเป็นสังคม มีการอยู่ร่วมกันอย่างมีระเบียบ ผลของวัฒนธรรมจะออกมาในรูปจริยธรรม ตลอดจนค่านิยมที่ใช้ในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการ จริยธรรมองค์การถือเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานขององค์การก้าวหน้า และส่งผลให้องค์การได้รับความเชื่อถือจากสังคม ดังนั้นองค์การทุกประเภทจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำจริยธรรมมาใช้ในการ บริหารและแก้ไขปัญหาองค์การอย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้รับความเชื่อถือ ภาพพจน์ที่ดี อันนำมาซึ่งชื่อเสียง เกียรติยศและความก้าวหน้าในระยะยาวขององค์การ
ในองค์การทั้งหลายซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของคนอย่างมีระเบียบนั้น ถ้าเรามองที่ปัจเจกบุคคลจะเห็นว่า บุคคลจะกระทำการไปสู่เป้าหมายใด ๆ ได้นั้น เขาอาศัยศูนย์รวมของใจหรือจิตใจเป็นตัวนำดังที่มักกล่าวกันว่า “สำเร็จด้วยใจ”   เมื่อปัจเจกบุคคลมารวมกันในองค์การมี
จิตใจมากมายแตกต่างกันไป สิ่งที่จะผูกความแตกต่างของจิตใจเหล่านี้ให้อยู่ด้วยกันได้และทำงานไปในทิศ ทางเดียวกันได้ หรือมีค่านิยมในเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะค่านิยมที่เกี่ยวกับงานในหน่วยงานที่ตนเองมีวิถีชีวิตอยู่สอดคล้อง กันได้ สิ่ง ๆ นั้นก็คือ “วัฒนธรรม” ในองค์การ การศึกษาวัฒนธรรมในองค์การได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน เมื่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมมีผลกระทบต่อองค์การ โดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีสามารถทำให้งานง่ายขึ้นและทำให้การทำงานในยุคข้อมูลข่าวสารหรือยุค โลกาภิวัฒน์สามารถจัดขนาดองค์การให้เล็กลง มีการกระจายอำนาจออกไปให้บริการอย่างกว้างขวางเฉพาะพื้นที่ เฉพาะราย เฉพาะด้าน จนกลุ่มคนเหล่านี้มีเป้าหมายเฉพาะของกลุ่ม เช่น กลุ่มนิติกร กลุ่มบัญชี กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มอื่น ๆ กลุ่มเหล่านี้อาจมีชื่อเป็นแผนก ฝ่าย กอง กรม หรือกระทรวงก็ได้ อย่างไรก็ดีจะมีสายโยงใยคือ วัฒนธรรมในการทำงาน เป็นศูนย์รวมของจิตใจจากองค์การต่าง ๆ เพื่อให้องค์การสามารถทำงานมุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกันได้

ความหมายของวัฒนธรรมในองค์การ
            กอร์ดอน (Gordon. 1999: 342) กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การคือสิ่งที่อธิบายสภาพแวดล้อมภายในองค์การที่รวมเอา ข้อสมมุติ ความเชื่อ และค่านิยมที่สมาชิกขององค์การมีร่วมกันและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อมีปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างอย่างเป็นทางการในการกำหนดรูปแบบพฤติกรรม
            วิรัช สงวนวงศ์วาน (2547: 20) กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การคือค่านิยมและความเชื่อที่มีร่วมกันอย่างเป็นระบบที่เกิด ขึ้นในองค์การ และใช้เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมของคนในองค์การนั้น วัฒนธรรมองค์การจึงเป็นเสมือน

แนวทางข้อสอบวิชา MCS3208 MC328 ภาค 1/55 ราม

MC 328
ข้อหนึ่ง จงอธิบายว่า งานด้านสื่อมวลชนสัมพันธ์ (Media Relations) มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรอย่างไร

ข้อสอง เพราะเหตุใดนักสื่อมวลชนสัมพันธ์ จึงจำเป็นต้องเรียนรู้โครงสร้างขององค์กรสื่อสารมวลชน

ข้อสาม จงเรียลเรียงข้อมูลต่อไปนี้ในรูปของข่าวแจก สำหรับเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์ประกอบด้วย พาดหัวข่าว ความนำ ส่วนเนื้อข่าว โดยนำเสนอในลักษณะ อินไดเร็ก สปีช (ด้านล่างจะมีเนื้อหามาให้เราทำ)

ข้อสี่ จงอธิบายว่า ข่างประชาสัมพันธ์ที่จัดทำขึ้น เพื่อเผยแพร่ทางสื่ออินเทอร์เน็ต ควรมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง จึงจะดึงดูดความสนใจของผู้รับสาร

ข้อห้า นักสือมวลชลสัมพันธ์ในองค์กร ควรพัฒนาทักษะความรู้ในด้านใดบ้าง จึงจะประสบความเสำเร็จในการทำงานในยุคปัจจุบัน (ตอบมาสองข้อ) พร้อมเหตุผลที่เข้าใจ