Ad

Tuesday, May 5, 2015

mcs3104 บทที่8

บทที่ 8 ความสำเร็จของการโน้มน้าวใจ

องค์ประกอบของการสื่อสาร เนื้อหา
  • ผู้รับสาร
  • ผู้ส่งสาร
  • ช่องทางในการสื่อสาร
ผู้รับสาร - เป็นบุคคเป้าหมายที่ผู้ส่งสารต้องการ โน้มน้าวใจให้เกิดการยอมรับและปฏิบัติตาม - เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญในการประเมินผล โดยวัดจากปฏิกิริยาการโต้ตอบ (feedback) ที่เกิดขึ้น   ลักษณะของผู้รับสาร และ ความยากง่ายในการโน้มน้าวใจ - บุคลิกภาพภายในของผู้รับสาร - ระดับความเชื่อของผู้รับสาร
หญิงโน้มน้าวได้ง่ายกว่าชาย
คนชราโน้มน้าวได้ยากว่าวัยรุ่น
โน้มน้าวได้ง่ายหรือยาก ให้ดูจากตัวตนของผู้รับสาร   บุคลิกภาพของผู้รับสาร เป็นการศึกษาถึงลักษณะบุคลิกภาพภายในบางประการของผู้รับสารที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการโน้มน้าวใจ และยังเป็นข้อพิจารณาในการจัดการการโน้มน้าวใจให้เหมาะสมกับผู้รับสารแต่ละคนแต่ละกลุ่ม 1 บุคคลยกย่องตนเอง self esteem แสดงถึง ความเชื่อมั่นและนับถือตนเอง แบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ
  • บุคคลที่ยกย่องตนเองในระดับสูง การโน้มน้าวใจผู้รับสารลักษณะนี้ทำได้ยาก ( โน้มน้าวได้ยาก ให้เริ่มต้นด้วยการชื่นชมผู้รับสาร พอผู้รับสารถูกเยินยอก็จะเกิดการพอใจและเปิดรับสาร )
  • บุคคลที่ยกย่องตนเองในระดับต่ำ บุคลิกภาพเช่นนี้ทำให้ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นได้ง่าย ( ไม่ค่อยเชื่อมั่น เลยต้องการความมั่นใจจากบุคคนอื่น )
  2 ความกังวลใจ ( anxiety ) เป็นลักษณะความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆแบ่งได้ 2 ระดับ
  • ผู้รับสารที่มีความกังวลใจในระดับปรกติ ผู้รับสารลักษณะนี้มีโอกาศถูกโน้มน้าวในได้ หากสารนั้นช่วยลดความกังวลใจได้
  • ผู้รับสารที่มีความกังวลใจในระดับผิดปกติ ผู้รับสารลักษณะนี้จะปิดรับข่าวสาร ทำให้โน้มน้าวใจได้ยาก
3 ผู้รับสารที่เชื่อฟังผู้มีอำนาจ ( authoritafianism ) เป็นลักษณะของการเชื่อผู้มีอำนาจเหนือกว่าตนโดยจะมีความเชื่อมั่นในตัวบุคคลที่ตัวเองนับถือการโน้มน้าวใจผู้รับสารกลุ่มนี้ ทำได้โดยเลือกใช้ผู้ส่งสารที่มีอำนาจและเป็นบุคคลที่ผู้รับสารเชื่อถือ (เช่น ผู้บังคับบัญชา ตำรวจ ศาล) 4 ผู้รับสารที่มีบุคคิกใจกว้างหรือใจแคบ
  • ผู้รับสารแบบใจแคบ จะโน้มน้าวใจได้ยาก คนแบบนี้เชื่อมั่นตนเอง มองโลกในแง่ร้าย มักพิจารณาข่าวสารด้วยความคิดเห็นของตนเอง
  • ผู้รับสารที่มีลักษณะใจกว้าง แบบนี้จะโน้มน้าวใจได้ง่าย เพราะ มองโลกในแง่ดี เปิดใจรับสาร และพิจารณาข่าวสารจากข้อเท็จจริง
Screenshot (40) Screenshot (41) Screenshot (42)   Screenshot (43) Screenshot (44) Screenshot (45) Screenshot (46) Screenshot (47) Screenshot (48) Screenshot (49) Screenshot (50) Screenshot (51) Screenshot (52) Screenshot (53) Screenshot (54) Screenshot (55) Screenshot (56) Screenshot (57)   การใช้ iPhone ipad ไม่ใช่ค่านิยม 5 การเรียกความสนใจ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ทำให้มันเร้าใจ 6 การใช้กลุ่มคน อ้างว่าคนส่วนใหญ่ใช้หรือเชื่อสิ่งนั้นๆ 7 การใช้ความปรารถนาดี ไม่ได้หวังผลตอบแทน 8 การใช้ความกลัว กลัวอันตรายจากการเล่นประทัด กลัวอันตรายจากเด็กแว๊น กลัวว่าสินค้าที่อยากได้จะหมดไป 9 การใช้สิทธิพิเศษ เช่น การลดราคา ลดแลกแจกแถม 10 การใช้ความรวดเร็วที่เห็นผลทันตา การคุยว่าสิ่งนี้จะให้ผลที่ต้องการอย่างรวดเร็ว แต่อาจไม่คำนึกถึงความปลอดถัยต่างๆ 11 การเร้าใจ สร้างอารมณ์ร่วม เช่น สุเทพปลุกม๊อบให้ไปตดใส่นายก 12 การใช้หลักฐานต่างๆ เช่น
  • ยกตัวอย่าง
  • ใช้สถิติ
  • การเปรียบเทียบ
  • การให้รายละเอียด(จุดดี จุดเด่น)

No comments:

Post a Comment